แดงเชียงใหม่

กราบสวัสดี พี่น้องทุกๆท่านที่เข้ามาเยี่ยมเยือน Blog นปช.แดงเชียงใหม่ ขอเรียนชี้แจงสักนิดว่า เรา ”แดงเจียงใหม่” เป็นกลุ่มคนชาวเจียงใหม่ที่เคารพรัก กติกาประชาธิปไตย ต่อสู้และต่อต้านเผด็จการทุกรูปแบบ อยากเห็นประเทศชาติภายภาคหน้า มีความเจริญ ประชาชน รุ่นลูกหลานของเราอยู่อาศัยอย่างร่มเย็นเป็นสุขในประเทศของพวกเราเอง ไม่มีกลุ่มอภิสิทธิ์ชนกลุ่มใดมาสูบเลือดเนื้อ แอบอ้างบุญคุณเฉกเช่นในยุคนี้ที่พวกเราเห็น การที่จะได้รับในสิ่งที่มุ่งหวังก็ต้องมีการต่อสู้แสดงกำลังให้สังคมได้รับรู้ และเพื่อที่จะให้กลุ่มบุคคลที่มีอำนาจในปัจจุบันได้เข้าใจในสังคมที่ก้าวหน้าเปลี่ยนแปลงไป ไม่อาจฝืนต่อกระแสการพัฒนาของโลก การต่อสู้ร่วมกับผองชนทั่วประเทศในครั้งนี้ เรา " แดงเจียงใหม่ " ได้ร่วมต่อสู้ทุกรูปแบบ และ ในรูปแบบที่ท่านได้เข้ามาร่วมอยู่นี้ คือการเผยแพร่ข่าวสารต่อสังคม

เรา " แดงเจียงใหม่ " ขอเชิญชวนร่วมกันสร้างขวัญ และกำลังใจให้เพื่อนพ้องน้องพี่ร่วมกัน


"อันประชาสามัคคีมีจัดตั้ง
เป็นพลังแกร่งกล้ามหาศาล
แสนอาวุธแสนศัตรูหมู่อันธพาล
ไม่อาจต้านมวลมหาประชาชน"

.

วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553

งานทำบุญ 100 วันวีรชน แคว้นนอร์ทไรน์ เยอรมนี

โดย Rojana Treiling

เมื่อ ว้นที่ 22 สิงหาคมที่ผ่านมาคนเสื้อแดงในเยอรมนีได้จัดทำบุญ 100 วันให้กับพลตรีขัติยะ สวัสดิผล และวีรชนคนเสื้อแดงขึ้นที่แคว้นนอร์ทไรน์ เยอรมนี โดยโอกาสนี้มีชาวเยอรมันคือ Dr.Antony Dockweiler และDr.Christina Dockweiler ร่วมเป็นเจ้าภาพ

งานบุญนี้เพื่อทำบุญครบ 100 วันรำลึกถึงเสธ.แดง นายพลทหารกล้าของประชาชนไทย และเหล่าวีรชนประชาธิปไตยไทยผู้สูญเสีย ในเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2553

กิจกรรม เริ่มขึ้นตั้งแต่วันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม พี่น้องเสื้อแดงจากทุกแคว้นในเยอรมนี และยุโรป และมิตรสหายเสื้อแดงทุกสายธารก็ได้หลั่งไหลกันมาตามนัด ทั้งจากเบอร์ลิน โคโลญจ์ แฟรงเฟิร์ท ฮัมบรูร์ก ร่วม 50คน สู่ตำบลBergkamen เมือง Dortmund แคว้น นอร์ทไรน์เวสฟาล

ในงานมีพระสงฆ์มาร่วมทำพิธี ดังนั้นทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติต่างชาติจึงได้ร่วมพิธีสงฆ์โดยพร้อมหน้า พร้อมอธิษฐานปรึกษาหารือ นำปัญหาบ้านเมืองมาร่วมวงวิจารณ์ระลึกถึงเหล่าวีรชนผู้เสียชีวิตในการต่อสู้ เพื่อประชาธิปไตยไทยเล่าสู่กันฟัง

งานนี้เป็นที่สนใจของผู้สื่อข่าวท้องถิ่น และ สื่อสิ่งพิมพ์ได้รายงานไปหลายฉบับ ดังได้คัดลอกมาจากสื่อออนไลน์ฉบับหนึ่ง ชื่อว่า derwesten.de รายงานข่าวเรื่อง Gebete für die Toten von Bangkok

รายละเอียดข่าวภาษาเยอรมัน มีดังต่อไปนี้

Overberge. Ein Blumenmeer liegt zu Fuessen des goldenen Buddhas. Raeucherstaebchen duften. Die drei Moenchen sitzen im Schneidersitz mit gefalteten Haenden auf dem Boden, ein duenner Faden liegt ueber ihren Unterarmen. Sie singen mit geschlossenen Augen eingaengige meditative Rezitationen. Gut 50 Gaeste tun es ihnen gleich. Ihre Gebete sollen zu den Ahnen gehen. Mit ihnen die Erinnerung an die ueber 100 Toten, die am 19. Mai in Thailand erschossen wurden, weil sie eine Demokratie wollten.

Aus Berlin, Koeln, Frankfurt und aus dem gesamten Ruhrgebiet haben sich Mitglieder buddhistischer Gemeinden am Samstag im Wohnzimmer von Amnui Dockweiler versammelt. Dafuer ist Phrakhrukhunasarasophon, der Praesident des Dhamayut-Ordens in Europa, eigens aus Hamburg angereist. Mit ihm ein weiterer Moench. Auch Phasuyanto ist dabei. Ein Moench, der ehemals der Dortmunder Gemeinde angehoerte, dort nach heftigen internen Querelen ausgeschlossen wurde und jetzt wieder seinem Amt als ranghoechster Moench nachkommen darf.

Eine Besucherin, die ein T-Shirt der Demokratie-Bewegung traegt, holt eine Zeitung aus ihrer Tasche. Dort sieht man regelrecht abgeschlachtete Menschen. „Es ist schrecklich, was dort passiert ist“, sagt sie. „Die Menschen wollten Demokratie vom Koenig – bekamen sie aber nicht. Stattdessen wurden viele erschossen“, erinnert sich Amnui Dockweiler. „Aber wir kaempfen weiter“, betont sie. Sie, die schon seit 30 Jahren in Deutschland lebt, sorgt sich um ihre Familie in der thailaendischen Heimat. Wie so viele andere ihrer Landsleute.

Es sind aber auch Buddhisten aus Laos oder Vietnam, die an diesem Morgen in ihrem Wohnzimmer zusammen mit den Moenchen beten. Es ist ein buddhistisches Ritual, nach 100 Tagen jenen zu Gedenken, die verstorben sind. Nach dem Gebet legt jeder Einzelne ein Schuesselchen mit Reis, Gebaeckkugeln oder anderen Lebensmittel den Moenchen zu Fuessen. Erst wenn die drei Maenner die Gaben als Mittelsmaenner zu den Heiligen und Ahnen verspeist haben, duerfen die Betenden ueber die Unmenge von Koestlichkeiten, die im Garten in einem Wok schmort, auf dem Grill brutzelt und unablaessig aus Autos abgeladen wird, essen. Moenche, so die buddhistische Tradition, duerfen nicht um Essen bitten. Sie bekommen es von den Glaeubigen.

Noch mehrfach wiederholt sich die Zeremonie an diesem Vormittag. Zum Schluss segnen die Moenche die Anwesenden. Sie alle hoffen, dass ihre Gebete irgendwann erhoert werden und ihr Land irgendwann tatsaechlich zu einer Demokratie wird.

*******
ภาพกิจกรรมทำบุญ100วันที่เยอรมัน






1 ความคิดเห็น:

  1. ไม่ระบุชื่อ26 สิงหาคม 2553 เวลา 17:03

    ขอขอบคุณพี่น้องเสื้อแดงทุกท่านทุกคนทุกประเทศบนโลกใบนี้ เราสัญญากันนะครับ "เราจะไม่ทิ้งกัน" เรา มีเพียง เรา เท่านั้น จริงๆ ขอกราบแทบหัวใจพี่น้องอีกครั้งครับ

    ตอบลบ

ผู้ให้ข้อมูลร่วมกัน